บทที่ 8

กลไกมนุษย์

การย่อยอาหาร

ปาก  à  หลอดอาหาร  à  กระเพาะอาหาร  à  ลำไส้เล็ก  à  ลำไส้ใหญ่

*  ต่อมน้ำลายจะผลิตน้ำลายประมาณ 1 – 1.5 ลิตร

 

ตารางแสดงผลการทดสอบการทำงานของเอนไซม์ในน้ำลายด้วยสารละลายเบเนดิกต์

 

หลอดทดลอง

 

สารที่ทดสอบ

 

ผลการทดสอบด้วยสารละลายเบเนดิกต์

 

1

2

3

4

น้ำลาย + น้ำแป้ง

น้ำลายต้ม + น้ำแป้ง

น้ำลาย + กรดไฮโดรคลอริก + น้ำแป้ง

น้ำลาย + โซเดียมไฮดรอกไซด์ + น้ำแป้ง

ได้ตะกอนสีส้ม

เป็นสีฟ้าของสารละลายเบเนดิกต์

เป็นสีฟ้าของสารละลายเบเนดิกต์

เป็นสีฟ้าของสารละลายเบเนดิกต์

 

 

*  เอนไซม์เป็นสารประเภทโปรตีน ทำหน้าที่ช่วยเร่งปฏิกิริยาระหว่างสาร

*  ปกติน้ำลายมี ph ระหว่าง 6.4 – 7.2  เอนไซม์ทำงานได้ดีในอุณหภูมิใกล้เคียงกับร่างกายก็ คือ ประมาณ 37 องศาเซลเซียส

*  เอนไซม์ส่วนใหญ่ถูกทำลายที่อุณหภูมิประมาณ 100 องศาเซลเซียส

*  กระเพาะอาหารขณะไม่มีอาหารมีขนาด 50 ลบ.ซม. จะสร้างเอนไซม์และกรดไฮโดรคลอริกเล็กน้อย ถ้ากระเพาะมีอาหารขยาย 10 – 40 เท่า จะสร้างเอนไซม์และกรดไฮโดรคลอริกมากเพื่อย่อยอาหาร

*  เอนไซม์ในกระเพาะอาหารทำหน้าที่ย่อยโปรตีน

*  ลำไส้เล็กจะย่อยอาหารให้เล็กที่สุด

*  ลำไส้ใหญ่จะดูดน้ำ แร่ธาตุและวิตามินให้เหลือแต่กาก และลำเลียงไปที่ลำไส้ตรง

เลือด ประกอบด้วย

-         น้ำเลือดหรือพลาสมา

-         เซลล์เม็ดเลือด

-         เกล็ดเลือด

 

 

 

                          ของเหลว     น้ำเลือด หรือพลาสมา        

เลือด -----                         

                                 ของแข็ง   เม็ดเลือดแดง , ขาว

                                          เกร็ดเลือด       

*  น้ำเลือดประกอบด้วยน้ำ 91 ส่วน

*  น้ำเลือด  ลำเลียงอาหารหรือของเสียประเภทยูเรีย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์

*  เซลล์เม็ดเลือดแดง  ลำเลียงออกซิเจนในกระเพาะอาหาร ถ้าออกซิเจนมีน้อยก็จะเป็นเลือดคล้ำ เม็ดเลือดแดงสร้างที่ไขกระดูก อายุเม็ดเลือด 120 วัน ก็จะถูกไปทำลายที่ม้าม ฮีโมโกลบิน (โปรตีน + เหล็ก) ทำให้มีสีแดง

*  เซลล์เม็ดเลือดขาว  ทำหน้าที่กำจัดเชื้อโรค สร้างที่ต่อมน้ำเลี้ยง บริเวณไขกระดูกกับม้าม

*  เกล็ดเลือด  ทำให้เลือดแข็งตัว  ไม่ใช่เซลล์เป็นส่วนไซโทรพลาสซึมใช้เก็บเลือด

*  หลอดเลือด มี 3 ชนิด

   1. หลอดเลือดอาร์เทอรี่ à  นำเลือดออกจากหัวใจ

   2. หลอดเลือดเวน       à  นำเลือดเข้าหัวใจ

   3. หลอดเลือดคะฟิลลารี่à  เชื่อมระหว่าง อาร์เทอรี่กับเวน

*  อาร์เทอรี่ส่วนใหญ่เป็นสีแดง ยกเว้น จากหัวใจไปปอด

*  เวนส่วนใหญ่เป็นเลือดสีดำ ยกเว้น จากปอดไปหัวใจ (เป็นเวนที่มีสีแดง)

*  คะฟิลลารี่ (หลอดเลือดฝอย)

*  วิลเลียม  ฮาร์วีย์ 

      เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ค้นพบการหมุนเวียนเลือดมีการไหลไปทางเดียวกัน

L.A

บนซ้าย

 

R.A

บนขวา

 
*  หัวใจห้องบน  =  เอเทียม (ออร์เคิล)

*  หัวใจห้องล่าง  =  เวนตริเคิล

L.V

ล่างซ้าย

 

R.V

ล่างขวา

 
*  ซีกขวา  =  ไรท์

*  ซีกซ้าย  =  เลฟ    

*  หัวใจ ทำหน้าที่สูบฉีด

 

 

 

 

 

 

 

 

 


*  หลอดเลือดที่นำเข้าสู่หัวใจจะมีความดันต่ำ

*  หลอดเลือดที่นำออกจากหัวใจจะมีความดันสูง

*  เครื่องวัดความดันเลือด เรียกว่า สฟิคโมนาโนมิเตอร์

ความดันเลือด

 

 


                       ขณะบีบตัว                                ขณะคลายตัว

                     เรียกว่า ซีสทอริค                           เรียกว่า ไดแอสทอริค

                    เลือดออกจากหัวใจ                          เลือดเข้าหัวใจ

*  ชายวัยรุ่นปกติ  120/80  มม.ปรอท

*  หญิงวัยรุ่นปกติ  110/70  มม.ปรอท

*  ขณะหัวใจคลายตัวจะไม่เกิน 90

*  ความดันเลือดวัดเป็นมิลลิเมตร

*  110 / 70  มิลลิเมตรของปรอท

110 ความดันขณะหัวใจบีบตัวให้เลือดออกจากหัวใจ

70  ความดันขณะหัวใจคลายตัวเข้าสู่หัวใจ

*  วัดความดันที่หลอดเลือดแดง ถ้าให้เลือด ต้องให้ที่หลอดเลือดดำ ชีพจรจะสีแดง

*  หายใจเข้า อากาศจะผ่านจมูก หลอดลม ปอด

*  แก๊สออกซิเจนจะทำปฏิกิริยาเผาผลาญ เรียกว่า กระบวนการหายใจ

*  แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์  แพร่ออกจากเยื้อหุ้มเซลล์เข้าหลอดเลือดและละลายอยู่ในน้ำเลือดแพร่เข้าสู่ถุงลมในปอด ผ่านทางลมหายใจออก

*  เซลล์สมองจะขาดเลือดไปหล่อเลี้ยงสมองได้ไม่เกิน 4 นาที

*  ดึงแผ่นยางลง กระบังลมลดต่ำลง ในช่องอกเพิ่มขึ้น ความดันอากาศบริเวณรอบๆ ปอดต่ำลง

*  ดึงแผ่นยางขึ้น กระบังลมเลื่อนสูงขึ้น ช่องอกลดลง ความดันอากาศบริเวณรอบๆปอดสูงขึ้น

*  หายใจเข้า  กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น  กระบังลมต่ำลง  ช่องอกมีมากขึ้น  ความดันอากาศลดต่ำลง

*  หายใจออก  กระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลง  กระบังลมเลื่อนสูงขึ้น  ช่องอกน้อยลง  ความดันอากาศสูงขึ้น

*  กำจัดของเสียทางไต  ไตมีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วมีอยู่ 2 ข้าง อยู่ด้านหลังช่องท้อง ยาว 10 ซม. กว้าง 6 ซม. หนา 3 ซม.  แร่ธาตุและสารที่เป็นประโยชน์จะถูกผนังของหน่วยไตดูดซึมกลับไปหลอดเลือด เรียกว่า น้ำปัสสาวะ  กระเพาะปัสสาวะจุได้ 500 ลบ.ซม. วันหนึ่งร่างกายขับน้ำปัสสาวะ 1 – 1.5 ลิตร  ในแต่ละนาทีจะมีเลือดมาที่ไต 1200 cm3

*  กำจัดของเสียทางผิวหนัง  หลอดเลือดฝอยจะนำของเสียมายังต่อมเหงื่อ และของเสียแพร่สู่เลือดเข้าต่อมเหงื่อ และนำเหงื่อออกจากผิวหนัง ผิวหนังยังระบายความร้อนจากร่างกายโดยความร้อนเสียไปทางผิวหนังประมาณ 87.5 %

*  กำจัดของเสียทางลำไส้ใหญ่  อาหารจะถูกย่อยในที่ต่างๆ ส่วนที่เหลือหรือย่อยไม่ได้เคลื่อนเข้าสู่ลำไส้ใหญ่ ลำไส้ใหญ่จะมีการบีบตัวเพื่อที่อาหารไม่มีประโยชน์ เรียกว่า อุจจาระออกสู่นอกร่างกาย

*  กำจัดของเสียทางปอด  น้ำและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเซลล์แพร่เข้าสู่เลือด ลำเลียงไปปอด เกิดการแพร่ของน้ำและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่ถุงลมที่ปอด เคลื่อนผ่านหลอดลมเคลื่อนไปที่จมูก    

 

 

จัดทำโดย

พัชราภรณ์  วรมาลี  (ครั้งที่ 2)